บทคัดย่อ :
บทความนี้นำเสนอความรู้เกี่ยวกับนามสกุลไฟล์ภาพดิจิทัลประเภทต่างๆ คุณสมบัติเฉพาะ และความเหมาะสมในการใช้งาน เพื่อเป็นแนวทางในการเลือกใช้รูปแบบไฟล์ภาพให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ ต่อไปนี้
- ความง่ายในการแชร์ : เพื่อให้นักออกแบบและช่างพิมพ์สามารถเปิดไฟล์ที่ส่งไปได้ และสามารถเปิดไฟล์ที่ส่งมาได้ด้วยเช่นกัน
- คุณภาพของรูปภาพ : เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่คมชัด สีไม่เพี้ยน และไม่แตกเป็นพิกเซลหรือผิดรูป
- ความเข้ากันได้ของซอฟต์แวร์ : เพื่อให้ผู้อื่นสามารถแก้ไขรูปภาพ โลโก้ หรือกราฟิกของคุณได้โดยไม่มีปัญหา
- ความสามารถในการปรับขนาด : เผื่อในกรณีที่คุณต้องการความยืดหยุ่นในการปรับชิ้นงานเป็นขนาดต่างๆ เช่น นำไปพิมพ์เป็นนามบัตรหรือโปสเตอร์ภาพยนตร์
ไฟล์รูปภาพมีให้ใช้งานอยู่หลายร้อยประเภท โดยแต่ละประเภทนั้นไม่เหมือนกัน การรู้ว่าไฟล์แต่ละประเภทมีความพิเศษอย่างไรบ้างจะช่วยให้ผู้ใช้งานเลือกรูปแบบไฟล์ที่เหมาะสมกับโครงการณมากที่สุดได้ ดูข้อมูลเกี่ยวกับความแตกต่างของไฟล์รูปภาพประเภทหลักๆ ทั้งหมดเพื่อสร้างสรรค์ผลงานที่ดีที่สุดของผู้ใช้งานขึ้นมา ไม่ว่าจะถ่ายภาพ ออกแบบโลโก้ หรือแก้ไขกราฟิก คุณก็จำเป็นต้องรู้ทุกสิ่งอย่างเกี่ยวกับไฟล์แต่ละประเภทในเบื้องต้น ดังนี้
1. นามสกุลไฟล์ภาพแบบไม่บีบอัด (Uncompressed Format)
1.1 RAW : "RAW" มีความหมายเหมือนกับ "raw" เช่นใน"raw vegetables (ผักดิบ)," ไม่ได้เป็นคำย่อเหมือนของ JPEG (Joint Photographic Experts Group) กล้องดิจิทัลโดยปกติจะทำ การประมวลผลดิจิทัลเพื่อให้ได้สัญญาณเอาต์พุตจาก เซนเซอร์ภาพ และสร้างเป็นภาพ JPEG ในขณะที่ , RAW เป็นฟอร์แมทของข้อมูลที่ ตัวแปรของการจัดการข้อมูล สามารถจะปรับแต่งได้อย่างอิสระโดยช่างภาพ
คุณสมบัติของไฟล์นามสกุล RAW :
เหมาะสำหรับ:
1.2 TIFF (Tagged Image File Format) ย่อมาจาก Tag Image File Format เป็นไฟล์คอมพิวเตอร์ที่ใช้เพื่อเก็บข้อมูลกราฟิกและรูปภาพราสเตอร์ การใช้ไฟล์ TIFF ซึ่งเป็นที่นิยมในหมู่ช่างภาพนั้นเป็นวิธีการที่สะดวกในการจัดเก็บรูปภาพคุณภาพสูงก่อนทำการแก้ไขรูปภาพ หากคุณต้องการหลีกเลี่ยงการใช้รูปแบบไฟล์ที่ทำให้เกิดการสูญเสียข้อมูลระหว่างบีบอัด
คุณสมบัติของไฟล์นามสกุล TIFF :
เหมาะสำหรับ:
2. นามสกุลไฟล์ภาพแบบบีบอัด (Compressed Format)
2.1 JPEG ย่อมาจาก Joint Photographic Experts Group ซึ่งเป็นองค์กรนานาชาติที่ทำให้รูปแบบไฟล์นี้เป็นรูปแบบมาตรฐานในช่วงปลายทศวรรษ 1980 และต้นทศวรรษ 1990 JPEG เป็นรูปแบบไฟล์อันดับแรกๆ ที่นิยมใช้สำหรับรูปภาพดิจิทัล และเป็นเช่นนั้นมาโดยตลอดนับแต่ที่ช่างภาพเริ่มถ่ายและจัดเก็บรูปภาพบนกล้องดิจิทัลและอุปกรณ์จำลองภาพอื่นๆ
คุณสมบัติของไฟล์ภาพนามสกุล JPEG :
เหมาะสำหรับ:
2.2 PNG (Portable Network Graphics) เป็นรูปแบบไฟล์ที่มีการใช้งานอย่างกว้างขวางบนเว็บไซต์เพื่อแสดงรูปภาพดิจิทัลคุณภาพสูง ไฟล์ประเภทนี้ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้มีประสิทธิภาพดีกว่าไฟล์ GIF ทั้งนี้ ไฟล์ PNG ไม่เพียงแต่มีการบีบอัดแบบไม่สูญเสียข้อมูลเท่านั้น แต่ยังรองรับจานสีที่มีสีสันสดใสและมีจำนวนสีที่มากกว่าอีกด้วย อ่านต่อเลยเพื่อเรียนรู้ข้อดีและข้อเสีย รวมทั้งการใช้งานและวิธีการสร้างไฟล์ PNG
คุณสมบัติของไฟล์ภาพนามสกุล PNG :
เหมาะสำหรับ:
2.3 GIF (Graphics Interchange Format) เป็นรูปแบบไฟล์ที่ใช้ในการแสดงภาพกราฟิกและภาพเคลื่อน ไหวแบบง่ายๆ บนอินเทอร์เน็ตเป็นหลัก และยังสามารถรวมรูปภาพเพื่อสร้างภาพเคลื่อนไหวได้อีกด้วย เหมาะสำหรับงานกราฟิกและโลโก้ที่มีสีน้อย และมีมเคลื่อนไหวบนโซเชียลมีเดีย
คุณสมบัติของไฟล์นามสกุล GIF:
2.4 WebP คือ ไฟล์ภาพพิเศษที่ Google พัฒนาขึ้นเมื่อปี 2010 เพื่อแก้ปัญหาเรื่องไฟล์รูปภาพใหญ่ จนทำให้หน้าเว็บไซต์แสดงผลช้า คุณสมบัติเด่นของ WEBP File คือสามารถแสดงผลได้อย่างคมชัดเทียบเท่ากับไฟล์ภาพปกติอย่าง PNG และ JPG แต่มีขนาดไฟล์เล็กกว่าถึง 25 – 34 %* นอกจากนี้ ยังรองรับการแสดงผลแบบโปร่งใสได้เช่นเดียวกับไฟล์ PNG จึงอำนวยความสะดวกในการออกแบบเว็บไซต์ได้เป็นอย่างดี
คุณสมบัติของไฟล์นามสกุล WebP :
เหมาะสำหรับ:
3. การเลือกใช้นามสกุลไฟล์ตามวัตถุประสงค์
3.1 งานถ่ายภาพมืออาชีพ
RAW สำหรับการถ่ายและเก็บต้นฉบับ
TIFF สำหรับการส่งพิมพ์
JPEG สำหรับการนำเสนอผลงาน
3.2 งานออกแบบเว็บไซต์
PNG สำหรับโลโก้และกราฟิก
JPEG สำหรับภาพถ่าย
WebP สำหรับการโหลดที่เร็วขึ้น
GIF สำหรับภาพเคลื่อนไหวขนาดเล็ก
3.3 งานพิมพ์
TIFF สำหรับงานพิมพ์คุณภาพสูง
JPEG คุณภาพสูงสำหรับงานพิมพ์ทั่วไป
4. ข้อควรพิจารณาในการเลือกนามสกุลไฟล์
4.1 คุณภาพของภาพ : ความละเอียด การสูญเสียข้อมูล ความคมชัด
4.2 ขนาดไฟล์ : พื้นที่จัดเก็บ ความเร็วในการโหลด การประหยัดแบนด์วิดท์
4.3 ความเข้ากันได้การรองรับของซอฟต์แวร์การแสดงผลบนอุปกรณ์ต่างๆความเข้ากันได้กับระบบปฏิบัติการ
5. แนวโน้มในอนาคต
5.1 รูปแบบไฟล์ใหม่
5.2 เทคโนโลยีการบีบอัด การพัฒนาอัลกอริธึมใหม่การใช้ AI ในการบีบอัด การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บ
เอกสารอ้างอิง: